February 18, 2011

อนาคตการอุดม (ชรา) ศึกษาไทย

ผมเห็นข่าวการปลดอธิการ มร. ด้วยประเด็นของ การต่ออายุผู้ที่เกษียณราชการแล้วให้ทำงานต่อ....
ความจริงเราจะพบว่า คงไม่เกี่ยวกับชีวิตเราท่าน แต่ที่น่าสนใจคงเป็นการศึกษาของชาติมากกว่า


อยากหยิบประเด็นของการอุดมศึกษาของจีนมาให้เห็น ก่อน ปี 1993
-การขาดแคลนงบประมาณของการอุดมศึกษาเป็นปัญหาใหญ่ แต่การจัดสรรงบประมาณไม่เท่าเทียมกัน
-การไม่สามารถจัดการและใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่และสมเหตุสมผล
-ที่่ร้ายที่สุดมีการสร้างมหา'ลัยขึ้นซ้ำซ้อนอย่างไม่หยุดหย่อน แม้จะมีเงินมากเท่าไรก็แก้ปัญหาไม่ได้
-การควบคุมอย่างเข้มงวดมากเกินไปเพราะเชื่อในเรื่องคุณภาพที่ต้องมาจากการควบคุุม

จึงนำไปสู่การปฏิรูปการศึกษาของจีน มีทั้งปรับใหม่ ยุบมหา'ลัย ลดการใช้งบประมาณที่ซ้ำซ้อน เพราะมีภาควิชาที่เหมือนกันเยอะมาก จึงซื้อของ-อุปกรณ์เหมือนกันแต่ใช้ไม่คุ้มค่า

อุดมศึกษาไทย มีปัญหาแบบจีนข้างต้นในปัจจุบัน
1. เดิมที่การเปิดหลักสูตรมีน้อย หรือไม่มากนักโดยกระจุกตัวอยู่กับ ม.ของรัฐ 24 แห่ง แต่เมื่อการศึกษาเบ่งบาน เกิด ม.ของรัฐ มีสาขาทั่วประเทศ  ม.ราชภัฏ ม.ราชมงคล  ม.เอกชน  ทำให้มีการเปิดหลักสูตรต่าง ๆ มากมาย
หน่วยงานที่คุมด้านนโยบายจึงอ้าง "คุณภาพ"  เพื่อการควบคุม โดยทุกหลักสูตรต้องมีกรรมการหลักสูตรประจำ 5 คน โดยหวังว่าจะเป็นการหยุดการเกิด-เปิดหลักสูตรใหม่ เพราะ มหา'ลัยทั้งหลายคงไม่มีทางมีศักยภาพที่จะทำได้เพราะใช้คนเยอะ

แต่ผลกับเป็นตรงกันข้าม ได้หลักสูตรใหม่และศักยภาพใหม่ 5 คน(มีศักยภาพจริงหรือไม่ไม่รู้) นั่นคือสาเหตุหลักของนโยบายที่ทำลายคุณภาพอุดมศึกษาด้วยตัวนโยบายเอง

2. หากทุกท่านจำได้ อุดมศึกษาไทยมีการฉายภาพถึงความรุนแรงของการที่จะมี อาจารย์ที่มีความรู้และเชี่ยวชาญจะเกษียณ อายุ จำนวนมาก และไม่สารถเตรียมรองรับได้ทันการ
จึงเสนอให้มีการต่ออายุ อาจารย์ที่มีความรู้และความสามารถตามความจำเป็นอีก 5 ปี
ผลที่เกิดขึ้น
- อาจารย์ที่ มีตำแหน่งทางวิชาการ รศ. จะได้ต่ออายุ 5 ปี โดยต้องมีความเชี่ยวชาญจริงและไม่ทำหน้าที่บริหาร
-แต่ในสภาพจริงอาจไม่เป็นตามข้างต้น และ มีที่ทำด้านบริหารแต่เรียกเป็นอย่างอื่น หรือ อย่างกรณีของการกลับมาสมัครใหม่ในตำแหน่งบริหาร จึงเกิดปัญหามากมาย

การอุดมศึกษาจึงเต็มไปด้วย กลุ่มสืบทอดอำนาจ (ทางวิชาการ) ที่อยู่ในวัยชราเป็นส่วนใหญ่ จึงน่าจะเรียก อุดม(ชรา)ศึกษา
เราจึงไม่เห็นพัฒนาการศึกษาในเชิงสร้างสรค์ มีแต่ประดิษฐกฎหมาย สารพัดควบคุมการศึกษาให้ง่อยเปลี้ยและไม่พัฒนา เกิดองค์กรอิสระมากมายที่ต่างหางานทำ สร้างระบบ(ทะเลาะกัน) มีกฎหมาย จน
คุณภาพที่คาดหวังไม่เกิดขึ้น

แต่ในอีกด้านต้องยอมรับว่าบุคลากรและผู้บริหารอุดมศึกษาที่เกษียณแล้วและทำงานในอุดมศึกษามีศักยภาพสูงก็ยังมีอยู่ด้วย

อนาคตการอุดมศึกษาไทย จึงต้องปฏิรูปบด้วยแนวทางใหม่ที่ไม่ใช่สิ่งที่เป็นอยู่ มิฉะนั้นจะเป็น "อุดม(ชรา)การศึกษาไทย"

February 17, 2011

ตัวอย่าง โมเดลธุรกิจ

                             (เมื่อ ดร.ดนัย ไปดูงาน วิทยาลัยอาชีวะ ฯ ของไต้หวัน)





ดร.ดนัย เทียนพุฒ
รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา
กรรมการผู้จัดการ

บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนทฺ์

โทร 029301133
                            

February 11, 2011

การสร้างโมเดลธุรกิจ (Creating Business Model)-ดร.ดนัย เทียนพุฒ






ในการทำกลยุทธแนวให้ทั้งการเป็นที่ปรึกษาให้ธุรกิจ และการสอนในหลักสูตร MBA ทั้งการจัดการเชิงกลยุทธ(Strategic Management) ความเป็นผู้ประกอบการ(Entrepreneurship) และ การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) ดร.ดนัย เทียนพุฒ ได้เสนอให้จัดทำ โมเดลธุรกิจ(Business Model) ซึ่งทำให้เห็นตรรกของธุรกิจในการเสนอคุณค่าให้กับลูกค้า
ชมตัวอย่างการนำเสนอโมเดลธุรกิจของบรรดา นศ.MBA ในวิชาต่าง ๆ ที่ดร.ดนัย สอนครับ

**********
ตัวอย่างโมเดลธุรกิจ­อพาร์ทเม้นท์



ดร.ดนัย เทียนพุฒ
รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา
กรรมการผู้จัดการ

บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนทฺ์


โทร 029301133

February 8, 2011

บทสรุป Strategic Leadership for Change Management in Education

                  (ดร.ดนัย เทียนพุฒ ณ.บ้านดำ อ. ถวัลย์ ดัชนี ต.นางแล จ.เชียงราย)

เมื่อ 23 ม.ค.54 ดร.ดนัย เทียนพุฒ ได้ทิ้งประเด็นเป็นบทสรุป ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง สำหรับผู้นำไว้หลัก ๆ ดังนี้
1.การเปลี่ยงแปลงองคืกรที่จะสำเร็จ ต้องเห็น ถึง ลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลง 1.การต่อต้าน 2.ความสับสน 3.การบูรณาการ 4. การมุ่งมั่นผูกพัน
2. การเปลี่ยนแปลงองค์กรที่น่าสนใจ มีรูปแบบใหม่ในการจัดโครงสร้างองค์กร ใน 2 ลักษณะ เช่นกรณีของธ.กสิกรไทย ที่จัดโครงกสร้างองค์กรตาม Segmentation และ ล่าสุด ได้กำหนดในรูปแบบของ ภูมิ (Domain)  กับการจัดโครงสร้างองค์กรแบบ Brand portfolio strategy เช่น กรณีของ กลุ่มเกษร(บริษัทในเครือเกษรพลาซ่า ฯลฯ) กลุ่มบริษัท ซีพีออลล์
3.ได้เสนอแนวคิดของ "การสร้างทฤษฎีความเป็นผู้นำของไทย" ขึ้นมาเอง โดยการข้ามสาขาวิชาใช้แนวคิดของ Hero Adventure  พร้อมการ การศึกษาความเป็น มหาราชของกษัตริย์ไทย 4 พระองค์
(ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์) กับ คุณลักษณะของวิีรบุรษ และความเป็นผู้นำในบริบทของสังคมไทย
4.สรุปข้อคิดในการดูงานเพื่อการนำไปใช้พร้อมแนวทางที่ควรทำ Dissertation ว่ามีประเด็นอะไรที่น่าสนใจบ้างจากวิชานี้



ดร.ดนัย เทียนพุฒ
รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา
กรรมการผู้จัดการ

บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนทฺ์


โทร 029301133

 

February 7, 2011

การวิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหาร HR ในสถานศึกษา

(ดร.ดนัย เทียนพุฒนำ นศ.ป.เอก รุ่นที่ 7 มซจ.ไปดูงานรร.ตชด.สิงคโปร์แอร์ไลน์สฯ)

วิชา MEA 5104 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา ภาคเรียน2/2553 ผู้สอน ดร.ดนัย เทียนพุฒ

ซึ่งนศ. แต่ละกลุ่มได้จัดทำการศึกษาการบริหาร HR ในสถานศึกษา

3. รร.เลิศหล้า ถนนเกษตร-นวมินทร์


4.รร.ศรีแสงธรรม


5.รร.อัสสัมชัญพานิชยการ
  ตอนที่ 1


ตอนที่ 2



6.รร. พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา



7.ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ.เมืองสิงห์บุรี



8.รร.พิทยพัฒน์ศึกษา



9. รร.อัสสัมชัญ คอนแวนต์ สีลม 




10.รร.วัดมหรรณพาราม 



ดร.ดนัย เทียนพุฒ
รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา
กรรมการผู้จัดการ

บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนทฺ์

โทร 029301133

February 5, 2011

การวิเคราะห์กรณีศึกษาด้านการบริหาร HR ในสถานศึกษา


                     (ถ่ายรูปร่วมกัน ครูใหญ่ รร.ตชด.สิงคโปร์ฯ  นศ.ป.เอก และ ดร.ดนัย)

วิชา MEA 5104 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา ภาคเรียน2/2553 ผู้สอน ดร.ดนัย เทียนพุฒ

ซึ่งนศ. แต่ละกลุ่มได้จัดทำการศึกษาการบริหาร HR ในสถานศึกษา

1.กรณีศึกษา รร.บุญเหลือวิทยานุสรณ์ จ.นครราชสีมา

2.กรณีศึกษา รร.อัสสัมชัญ(บางรัก)






ดร.ดนัย เทียนพุฒ
รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา
กรรมการผู้จัดการ


โทร 029301133