ในวันอาทิตย์ที่ผ่านมา 12 ธ.ค.53 ดร.ดนัย ได้บรรยาย วิชา Strategic Leadership for Managing Change in Education แก่ นศ.ป.เอก รุ่นที่ 7 หลักสูตรบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ ในเรื่องการเปลี่ยนแปลง (ต่อ)
1.ได้พูดถึง Case study ที่ให้ นศ.ได้ทำกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งยังมีแนวทางที่สามารถทำให้มีคุณภาพสูงขึ้นได้อีก และแนะนำให้ "คิดและทำแบบผู้นำมืออาชีพ"
Dr.Danai Thieanpht guideline for Ph.D. SJU
2.เรื่องการจัดการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ที่ได้ปฏิรูปการ ศึกษาด้วยคำ 4คำ " Thinking Schools, Learning Nation" ดร.ดนัย ได้เล่าถึงการปฏิรูปการศึกษาของสิงคโปร์ที่ให้ความ
สนใจกับการสอบน้อยลง แต่เน้นนอกขั้นเรียนมากขึ้น คือมีทั้ง วิชาการและไม่ใช่วิชาการ
การจัดกลุ่มโรงเรียนแบบ Cluster
โรงเรียน คือ บริษัท
ครูใหญ่คือ CEO
ครูคือ โมเดลต้นแบบของ นวัตกรรมและ ธุรกิจ
หลักสูตร เป็นแบบ โปรแกรมบูรณาการ
*ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์
2.เรื่องการจัดการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ที่ได้ปฏิรูปการ ศึกษาด้วยคำ 4คำ " Thinking Schools, Learning Nation" ดร.ดนัย ได้เล่าถึงการปฏิรูปการศึกษาของสิงคโปร์ที่ให้ความ
สนใจกับการสอบน้อยลง แต่เน้นนอกขั้นเรียนมากขึ้น คือมีทั้ง วิชาการและไม่ใช่วิชาการ
การจัดกลุ่มโรงเรียนแบบ Cluster
โรงเรียน คือ บริษัท
ครูใหญ่คือ CEO
ครูคือ โมเดลต้นแบบของ นวัตกรรมและ ธุรกิจ
หลักสูตร เป็นแบบ โปรแกรมบูรณาการ
*ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์
(อ้างจาก http://www.moe.gov.sg/education/)
Dr.Danai Thieanphut: S'pore New Education System
Dr.Danai Thieanphut: S'pore New Education System
ที่ ดร.ดนัย ชอบมาก ๆ คือ 1).การเปลี่ยนจากการเรียนในห้องเรียนไปสู่นอกห้องเรียนที่เป็นโลกความจริง
2). การให้อำนาจโรงเรียนในการตัดสินใจจัดการเรียนการสอน และให้ทรัพยากร ไม่ใช่เป็นการไปบังคับโรงเรียนแบบประเทศไทยว่าต้องการให้เด็กจบมามีคุณลักษณะแบบที่ผู้ใหญ่
อยากได้ แต่เค้าเน้น "การศึกษาเสรี" ไม่ใช่"การศึกษาทาสความ
คิด"
3.พูดเรื่องทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงองคืกรตั้งแต่ยุคแรก จนถึงปัจจุบัน และเน้นที่ 3-4 แนวคิดซึ่งธุรกิจนิยมใหช้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 8 ขั้นตอนสู่ความสำเร็จของ Kotter ยกตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร) ในการเปลี่ยนใหม่ช่วงที่ ดร.ดนัย ทำงานที่นั่นว่า มีโมเดลในการปรับเปลี่ยนอย่างไร
4.สุดท้ายเป็นการมอบหมายงานให้ นศ.ป.เอก ไปศึกษาเอกสารและมานำเสนอในครั้งต่อไปเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายและการปฏิรูปการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ พร้อมมานำเสนอในชั้นเรียน
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
2). การให้อำนาจโรงเรียนในการตัดสินใจจัดการเรียนการสอน และให้ทรัพยากร ไม่ใช่เป็นการไปบังคับโรงเรียนแบบประเทศไทยว่าต้องการให้เด็กจบมามีคุณลักษณะแบบที่ผู้ใหญ่
อยากได้ แต่เค้าเน้น "การศึกษาเสรี" ไม่ใช่"การศึกษาทาสความ
คิด"
3.พูดเรื่องทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงองคืกรตั้งแต่ยุคแรก จนถึงปัจจุบัน และเน้นที่ 3-4 แนวคิดซึ่งธุรกิจนิยมใหช้กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 8 ขั้นตอนสู่ความสำเร็จของ Kotter ยกตัวอย่างการปรับเปลี่ยนของ ธกส. (ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร) ในการเปลี่ยนใหม่ช่วงที่ ดร.ดนัย ทำงานที่นั่นว่า มีโมเดลในการปรับเปลี่ยนอย่างไร
4.สุดท้ายเป็นการมอบหมายงานให้ นศ.ป.เอก ไปศึกษาเอกสารและมานำเสนอในครั้งต่อไปเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายและการปฏิรูปการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ พร้อมมานำเสนอในชั้นเรียน
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
กรรมการผู้จัดการ
No comments:
Post a Comment